Tag: DAX Formula
-
แนวทางการใช้ DAX Studio ในการตรวจสอบและเรียนรู้ DAX
ปัญหาหนึ่งที่คนที่ใช้ Power BI มาแล้วซักพักจะต้องเจอก็คือการเรียนรู้เรื่องสูตร DAX ซึ่งเป็นภาษาที่มีความสามารถในการสร้างผลลัพธ์ที่ซับซ้อนได้เก่งมากๆ แต่ก็ค่อนข้างยากต่อการเรียนรู้และต่อยอด เนื่องด้วยประเด็นต่างๆ เหล่านี้ เหตุผลที่ทำให้ DAX ยาก เหตุผล 1 : การเขียน DAX ขึ้นอยู่กับบริบท และ Data Model DAX นั้นไม่เหมือนภาษาอื่นๆ ตรงที่การทำงานของมันขึ้นกับสิ่งแวดล้อมหรือบริบทที่เรียกว่า Evaluation Context อย่างเข้มข้น (ทั้ง…
-
เจาะลึก CALCULATE ใน DAX แบบลึกสุดใจ : Part 2
ตอนนี้เป็นเนื้อหาที่ต่อจาก https://www.thepexcel.com/calculate-dax-in-depth/ ซึ่งจำเป็นจะต้องอ่านก่อน ไม่งั้นไม่มีทางเข้าใจบทความนี้ได้เลยครับ ถ้าอ่านบทความก่อนจบแล้ว ก็เชิญมาต่อที่นี่ได้เลย ใน Part2 นี้ผมจะปูความรู้ 2 เรื่องที่สำคัญมากๆ นั่นคือ Context Transition และ CALCULATETABLE ให้ก่อน ใน Part ถัดไปจะเอาทุกอย่างมายำกันละ Context Transition ทำความเข้าใจ Context Transition เบื้องต้น ปกติแล้วถ้าเราเขียนสูตรใน New…
-
เจาะลึก CALCULATE ใน DAX แบบลึกสุดใจ : Part 1
ถ้าใครได้หัดใช้ DAX ไม่ว่าจะใน Power BI หรือ Data Model ของ Excel มาซักพักจะรู้ว่า ฟังก์ชันที่ทรงพลังที่สุดใน DAX ก็คือ CALCULATE (และพี่น้องของมันอย่าง CALCULATETABLE ) อย่างไม่ต้องสงสัย ในบทความนี้ผมจะมาทำความเข้าใจพฤติกรรมของ CALCULATE แบบเจาะลึกกันแบบละเอียดยิบๆๆๆๆ โดยทำการทดสอบหลายๆ อย่างพร้อมบันทึกภาพประกอบไว้ด้วย เพื่อให้ทุกท่านได้ร่วมพิสูจน์หาความจริงไปด้วยกัน ป.ล. ตอนแรกจะทำตอนเดียวจบ แต่เขียนไปแล้วยาวมากๆ…
-
หลากวิธีเอาข้อมูลในกลุ่มเดียวกันไปรวมเป็นข้อความเดียวกัน
สมมติว่าเรามีข้อมูลอยู่แบบซ้ายมือของรูป แต่อยากให้ผลลัพธ์รวมเป็นข้อความเดียวกันกลายเป็นแบบด้านขวามือ เราจะใช้วิธีไหนได้บ้าง? มาดูกันครับ คิดว่าบทความสั้นๆ อันนี้น่าจะช่วยเปิดหูเปิดตาให้เพื่อนๆ ได้รู้จักวิธีแก้ปัญหาที่หลากหลายมากขึ้นนะครับ ก่อนอื่นเราทำข้อมูลให้เป็น Table (Insert->Table หรือ Ctrl+T) ก่อน จะได้รองรับ Data mี่เพิ่มขึ้นได้ง่ายๆ ครับ และตั้งชื่อว่า MyData วิธีใช้สูตรของ Excel 365 รวมเป็นข้อความเดียวกัน วิธีที่เข้าใจง่ายที่สุดเลย ก็คือสูตรของ Excel 365 ซึ่งมีความสามารถแบบ…
-
อธิบายละเอียดยิบเรื่องการเงิน NPV, XNPV, IRR, XIRR ต่างกันยังไง ใช้อะไรดี?
ผมได้เคยสอนใช้ฟังก์ชันทางการเงินอย่าง NPV และ IRR กันไปคร่าวๆแล้ว ซึ่งมันเป็นฟังก์ชันทางการเงินที่มีประโยชน์ในการช่วยตัดสินใจได้ว่า Project ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าแค่ไหน น่าลงทุนหรือไม่? แต่ถ้าเราสังเกตดูแล้วมันจะมีฟังก์ชันชื่อคล้ายๆ กันอย่าง XNPV และ XIRR อยู่ด้วย แถมใน DAX ของ Power BI, Power Pivot ก็มีแค่ XNPV กับ XIRR ให้ใช้อีก แบบนี้มันสามารถใช้แทนกันได้มั้ย…
-
แบ่ง Segment ลูกค้าด้วย RFM Analysis : ตอนที่ 2 Static DAX
จากเนื้อหาตอนที่แล้วผมได้แสดงวิธีทำ RFM Analysis กันด้วยสูตร Excel ปกติกันไปแล้ว คราวนี้ผมจะมาแสดงวิธีทำด้วยสูตร DAX กันบ้าง ซึ่งจะสามารถใช้ได้ทั้งใน Power BI และใน Power Pivot ของ Excel ด้วยนะครับ ซึ่งผมคิดไว้ว่าวิธีการจัด Segment ด้วย RFM Analysis ด้วย DAX ผมจะเขียนถึงใน 2 ลักษณะ…
-
บันได 10 ขั้น แห่งการฝึกวิชา DAX
ภาษา DAX (Data Analysis eXpression) เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนสูตรของ Power BI และ Power Pivot ซึ่งเป็นภาษาที่มีหน้าตาภายนอกคล้ายคลึงสูตรของ Excel มากๆ แต่เบื้องลึกนั้นอาจมีความต่างพอสมควร… Concept การทำงานของ DAX นั้นจะผูกโยงกับ Data Model หรือโครงสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูลในตาราง และขึ้นอยู่กับบริบทของการ Filter ข้อมูลเป็นอย่างมาก ดังนั้นคนที่ใช้ Excel มาก่อนจำชำนาญแล้ว…
-
Project Feasibility การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ
เรื่องการคำนวณ Project Feasibility หรือการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ อันนี้ก็เป็นอีกประเด็นนึงที่มีคนถามผมมาเยอะพอสมควร ดังนั้นก็เลยขอเอามาเขียนอธิบายกันอีกทีนะครับ เรื่องของ Project Feasibility จริงๆนั้น มีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ว่าโครงการนั้นๆ จะอยู่รอดหรือไม่ ซึ่งต้องมีการวิเคราะห์ในหลายแง่มุมมากๆ เช่น การดำเนินงาน, การตลาด, เทคนิค, การเงิน, กฎหมาย เป็นต้น แต่แง่มุมที่ผมคิดว่าเพื่อนๆ อยากให้ผมพูดถึง มันคือแง่มุมในเรื่องของการเงิน หรือพูดง่ายๆ คือความคุ้มค่าของการลงทุนของโครงการนั้นๆ นั่นเอง เพราะเป็นแง่มุมที่ใช้ Excel…
-
Inventory Management ทำรายงานสินค้าคงคลังด้วย DAX และ Data Model ใน Excel
จากที่ผม post ถามไปในเพจว่าอยากรู้การทำงานจริงเรื่องไหนมากที่สุด เรื่องที่มีคนตอบมามากที่สุดก็คือ Inventory Management หรือการทำรายงานสินค้าคงคลังนั่นเอง ในบทความนี้จะเป็นตัวอย่างที่จะใช้ Concept ของ DAX และ Data Model มาช่วยในการทำรายงานให้เห็นมิติใหม่ๆ โดยนำมาประยุกต์ร่วมกับการใช้สูตร SUMIFS ที่ช่วยในการแสดงข้อมูลแบบทันที และช่วยในการ Validate การกรอกข้อมูล ซึ่งเดี๋ยวเพื่อนๆ จะเห็นว่ามันก็เข้าขากันได้ดีอยู่นะ ซึ่งคนที่จะใช้วิธีนี้ ผมแนะนำว่าควรมี Power Pivot/Power Query…
-
เปรียบเทียบ MAX vs LASTDATE ในภาษา DAX
เมื่อเราศึกษา DAX ใน Power BI/Excel Power Pivot ไปซักพัก บางทีก็จะเจอหลายฟังก์ชันที่ทำงานคล้ายกันมากๆ เช่น MAX กับ LASTDATE แต่การที่เราจะเข้าใจมันได้อย่างแท้จริงก็คือต้องลองหามุมคิดที่ว่า แต่ละฟังก์ชันที่คล้ายกันนั้น มีจุดเหมือนหรือจุดต่างกันอย่างไร ป.ล. เว็บ SQLBI เคยเขียนสรุปไว้ในนี้ ผมขอนำมาตีความเพิ่มเติม รวมถึงใส่ภาพประกอบและตัวอย่างให้เพื่อนๆ เข้าใจง่ายขึ้น โดยที่ช่วงแรกผมจะขอพูดการใช้งานในฐานะ Measure ซะก่อน แล้วอธิบายเวลาเอาไปใช้ใน Calculated…
-
Power BI ตอนที่ 22 : การวิเคราะห์ Event ที่มีช่วงเวลาเริ่มต้นกับสิ้นสุดคนละวัน
ในตัวอย่างที่ผ่านมาทั้งหมด มักจะเป็นเหตุการณ์ของวันนั้นๆ ที่เราสนใจเลย เช่น ถ้าเป็นการขายของ ก็จะสามารถวิเคราะห์ได้ว่า วันนั้นๆ มีการขายของอะไรไปเท่าไหร่บ้าง? แต่ถ้าหากเหตุการณ์ของเรามันเป็นช่วงเวลา ที่มีวันเริ่มต้นกับสิ้นสุดไม่ตรงกันล่ะ เราจะทำยังไงดี? เช่น บอกเป็นช่วงเวลาของเรื่องเหล่านี้ว่าเริ่มวันไหนจบวันไหน การซื้อสินค้าที่มีเรื่องของวันสั่งซื้อกับวันส่งของที่ไม่ตรงกัน Campaign การตลาด ช่วงเวลาการซ่อมแซมเครื่องจักร สัญญา/กรมธรรม์ แบบนี้เราจะทำการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างไร? คำถามนี้ผมเชื่อว่าหลายคนคงเจอกับการทำงานอยู่ และก็ไม่รู้จะทำยังไงกับมันดี ดังนั้นผมเลยเขียนบทความนี้ขึ้นมาช่วยแก้ไขปัญหาให้ครับ แนวทางแก้ปัญหา และ ไฟล์ประกอบ โชคดีที่ท่านอาจารย์ Alberto Ferrari…
-
Power BI ตอนที่ 21 : แสดงข้อมูลสรุปแบบ Top N + Others (ฉบับเทพเอ็กเซล)
วันก่อนผมได้เจอบทความของพี่บิว วิศวกรรีพอร์ต ที่อธิบายเรื่องวิธีการสรุปข้อมูลแบบ TopN+Others ใน ใน Power BI ซึ่งก็คือการแสดง Top N ที่สนใจ แต่สามารถแสดงข้อมูลอื่นๆ ที่อันดับมากกว่า Top N ให้รวมกันเป็น Others ได้ด้วย ในบทความนั้นพี่บิวบอกว่าได้ดัดแปลงสูตร DAX จากบทความของฝรั่งชื่อ Gerhard Brueckl ที่เขียนแนวทางการทำการสรุปแบบนี้ไว้ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งบทความของคุณ Gerhard…
-
การใช้ Excel Power Pivot ตอนที่ 2 : ทำผลสรุป Value ให้เป็นข้อความด้วย DAX
ตามปกติแล้ว ในช่อง Values ของ Pivot Table จะแสดงข้อมูลออกมาได้แค่ตัวเลขเท่านั้นไม่สามารถทำเป็นข้อความได้ ที่เป็นแบบนั้นเพราะมันถูกสรุปด้วยการ Sum, Count, Average, Max, Min ปกติไงล่ะ… แต่ใน Power Pivot เราสามารถเขียน Measure ได้ด้วยฟังก์ชัน DAX อะไรก็ได้ ดังนั้นเราก็สามารถสรุปผลลัพธ์ที่เป็น Text ได้แล้วล่ะ และในบทความนี้ก็จะสอนวิธีทำให้ครับ Warning :…
-
การใช้ Excel Power Pivot ตอนที่ 1 : การใช้งานพื้นฐาน
คงปฏิเสธไม่ได้ว่า Pivot Table นั้นเป็นเครื่องมือสรุปข้อมูลที่ใช้ง่ายที่สุดของ Excel (จริงๆ ผมว่าถ้าเทียบกับโปรแกรมอื่น Pivot ก็ยังง่ายและเจ๋งกว่าอยู่ดี) ซึ่งการใช้ Pivot Table แบบทั่วๆ ไปก็สามารถตอบโจทย์การทำงานได้มหาศาลแล้ว อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีงานบางอย่าง ที่ Pivot Table ธรรมดายังตอบโจทย์ไม่ได้ แต่ต้องใช้ Power Pivot แทน เช่น นี่คือตัวอย่างของสิ่งที่Pivot ธรรมดาๆ ทำไม่ได้……
-
Power BI ตอนที่ 20 : การคำนวณต้นทุนแบบ FIFO ด้วย DAX
ตอนนี้จะเป็นเนื้อหาที่ประยุกต์ใช้ความสามารถของ DAX ที่เราเรียนมา ในการคำนวณสิ่งที่ค่อนข้างซับซ้อน นั่นก็คือ ต้นทุนแบบ FIFO นั่นเองครับ ซึ่งวิธีในบทความนี้จะสามารถทำให้คุณสามารถคำนวณสิ่งนี้ได้แบบอัตโนมัติ ไม่ต้องทน Manual อีกต่อไป 555 แต่ก่อนอื่นเรามาทบทวนหลักการของ FIFO กันนิดนึงก่อนจะไปดูวิธีทำใน DAX ( Edit 30/6/2020 14:20 : ผมมีแก้ Code ที่ Error เรื่องเครื่องหมาย &…
-
Power BI ตอนที่ 19 : การปรับ Cross Filter Direction เพื่อคำนวณค่าในตาราง Dimension
บทความนี้จะสอนเรื่องการปรับค่า Cross Filter เพื่อให้สามารถคำนวณข้อมูลที่อยู่ในตาราง Dimension จากตารางอื่นได้ แต่ก่อนจะไปดูเรื่องนั้น มาทวนเรื่องการคำนวณกรณีที่ Measure หลักอยู่ใน Fact Table กันซะก่อนครับ เมื่อ Measure หลัก คำนวณจากข้อมูลใน Fact Table ในตอนที่ 14 เรื่องของ Context Transition ผมมีเขียนสูตรอธิบายการใช้ CALCULATE ผสมกับพวก SUMX…
-
Power BI ตอนที่ 18 : วิธีการกระจายเป้า Allocate Target ด้วย DAX
ในตอนที่แล้วผมได้พูดถึงเรื่องการทำ Data Model ที่รองรับการแสดงรายงานแบบ Target vs Actual ไปแล้ว แต่ว่าเราแสดงเป็น Target ระดับเดือนอยู่ ซึ่งหากว่าเราอยากจะแสดง ยอดขายที่ละเอียดแต่ละวันด้วย ดังนั้นเราก็จะต้องแจกเป้า หรือ Allocate Target ให้ลงมาถึงที่ระดับวันด้วยนั่นเอง อีกประเด็นนึงก็คือ ถึงเราไม่ต้องการจะลงรายละเอียด Target ถึงระดับวัน แต่ถ้าใน Visual ดันดึงข้อมูลระดับวันมา มันก็จะมี Target ทั้งเดือนอยู่ที่วันแรกหมดเลย…
-
Power BI ตอนที่ 16 : เดินทางข้ามเวลาไปกับ Time Intelligence DAX Function
ในเนื้อหาตอนที่ 9 ของ Series นี้ ผมได้บอกไปว่าเราสร้าง Date Table ขึ้นมาเพื่อที่จะได้ใช้ฟังก์ชันกลุ่ม Time Intelligence ได้ และในบทความนี้ก็ได้เวลาที่จะไปพูดถึงฟังก์ชันกลุ่ม Time Intelligence ซะทีครับ Time Intelligence คืออะไร? มันคือฟังก์ชันกลุ่มที่จะช่วยให้เราคำนวณอะไรฉลาดๆ เกี่ยวกับวันที่และเวลาได้ เช่น คำนวณยอดขายสะสมตั้งแต่ต้นปี คำนวณยอดขายเทียบกับปีก่อน เป็นต้น เรามาดูตัวอย่างการใช้ฟังก์ชันกลุ่ม Time Intelligence…
-
Power BI ตอนที่ 15: วิธีดึงค่าจาก Slicer มาคำนวณใน Report
เราก็ได้เรียนรู้ความรู้พื้นฐานหลายๆ เรื่องไปแล้ว คราวนี้ขอพักเปลี่ยนหัวข้อมาดูเรื่องที่จะช่วยให้รายงานเรามีลูกเล่นเจ๋งๆ เพิ่มขึ้นด้วยการดึงค่าจาก Slicer มาคำนวณใน Report กันบ้างครับ (พอดีมีคน inbox มาถามด้วยล่ะ 55) ไฟล์ประกอบ ใช้ไฟล์เดิมจากตอนก่อนหน้าได้เลยนะครับ หรือจะใช้อันนี้ก็ได้ ก่อนอื่น ลองสร้าง Table หรือ Matrix ขึ้นมาก่อน ลากสรุปผลยอดขายของแต่ละ ProductCategory ประมาณนี้ ตัวอย่างการดึงค่าจาก Slicer มาใช้คำนวณใน Visual การปรับตัวเลข…
-
Power BI ตอนที่ 14: Context Transition และ พลังแฝงใน Measure
จากในตอนที่แล้วเราได้ทำความรู้จัก CALCULATE กันไปแล้วว่ามันเป็นฟังก์ชันที่เอาไว้เปลี่ยน Filter Context ได้ตามต้องการ ในตอนนี้เราจะมาทำความรู้จักพลังที่แท้จริงของมัน ซึ่งก็คือ CALCULATE สามารถเปลี่ยน Row Context ให้เป็น Filter Context ได้ เรียกว่า Context Transition Measure ทุกตัวมี CALCULATE แฝงอยู่ข้างในเสมอ ไฟล์ประกอบ ใช้ไฟล์เดิมจากตอนก่อนหน้าได้เลยนะครับ หรือจะใช้อันนี้ก็ได้ ซึ่งเรามี Data Model…
-
Power BI ตอนที่ 13: CALCULATE ฟังก์ชันที่ทรงพลังที่สุดใน DAX
ในบทความนี้ผมจะมาพูดถึงฟังก์ชัน CALCULATE ฟังก์ชันที่ทรงพลังที่สุดใน DAX ที่ถูกออกแบบมาให้ทำหน้าที่ “เปลี่ยน Filter Context” โดยเฉพาะ CALCULATE เป็นฟังก์ชันที่หน้าตาดูเรียบง่าย เหมือนไม่มีอะไร แต่ทรงพลังมากๆ ผมว่ามันเทียบได้กับตัวการ์ตูนเอกในเรื่อง One Punch Man ที่ชื่อไซตามะเลยครับ หน้าตาดูไม่เก่งอะไรเลย แต่ต่อยทีเดียวศัตรูตายหมด ดังนั้นอย่าดูถูก CALCULATE เด็ดขาด!! ผมกล้าพูดได้เลยว่าใครที่ใช้ Power BI แต่ไม่รู้จัก CALCULATE…
-
Power BI ตอนที่ 12: DISTINCT, VALUES, ALL และผองเพื่อน
เรื่องของ Table Function ใน DAX นอกจาก FILTER ที่แนะนำไปในบทความที่แล้ว ยังมีที่เราควรจะรู้จักอีก 3 ตัว ก็คือ DISTINCT, VALUES, ALL (และเพื่อนๆ ของมัน) เนื่องจากทั้ง 3 ตัวนี้ทำงานคล้ายกันๆ แต่ไม่เหมือนกัน… ดูเผินๆ แล้วจะสับสนได้ ผมจึงขอทำตารางเปรียบเทียบดังนี้ ฟังก์ชัน รองรับ Table/Col ที่เป็นสูตร…
-
Power BI ตอนที่ 11: เรียนรู้ DAX Table Function – FILTER
ในซีรีส์ Power BI บทก่อนหน้านี้เราได้เรียนรู้จักสูตร DAX พื้นฐานกันไปแล้ว คราวนี้เรามารู้จักฟังก์ชันกลุ่ม Table Function เพิ่มเติม นั่นก็คือ FILTER, DISTINCT, VALUES, ALL ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถเขียนสูตร DAX ที่ซับซ้อนได้มากขึ้นในอนาคตนั่นเอง แต่เพื่อไม่ให้มันเยอะเกินไป เดี๋ยวบทความนี้ผมจะพูดถึง FILTER แค่ตัวเดียวก่อน ส่วน ALL, DISTINCT, VALUES และผองเพื่อน จะพูดในตอนถัดไปนะครับ…
-
สูตรสำเร็จรูปสำหรับสร้าง Date Table ด้วย DAX และ Power Query M Code
จากที่ผมได้เคยอธิบายไปว่า Date Table มีความสำคัญต่อการทำ Data Model เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการใช้ฟังก์ชัน Date Intelligence ยิ่งจำเป็นต้องใช้ Date Table เลยล่ะ แปลว่า Data Model ของทุกคนควรมี Date Table ซึ่งกลายเป็นเรื่องที่ทุกๆ คนต้องทำเหมือนๆ กันหมด ดังนั้นจะดีกว่ามั้ย ถ้าเราสามารถมีสูตรสำเร็จรูปอะไรซักอย่าง ที่สามารถ Copy Paste…
-
Power BI ตอนที่ 10: เรียนรู้ DAX เบื้องต้น
ในบทความนี้เราจะมาเรียนรู้การใช้ DAX เบื้องต้นกันครับ เดี๋ยวจะสอนแบบที่ว่า ไม่เคยใช้ DAX เลยก็สามารถเข้าใจได้นะ ก่อนอื่นเรามาลองดู Data ของตารางหลัก นั่นก็คือ fSales กันก่อนครับ เกิดอะไรขึ้นเมื่อลาก Field ตัวเลขลง Visual สิ่งที่เราควรรู้คือ เราสามารถลาก Field ที่เป็นตัวเลข (สังเกตว่าที่ Field มีสัญลักษณ์ Sigma อยู่) อย่างเช่น SalesQuantity…
-
Power BI ตอนที่ 09: สร้าง Date Table ด้วย DAX
ในตอนที่แล้วเราได้สร้าง Data Model ให้เป็น Star Schema ได้แล้ว เหลืออีกขั้นตอนนึงในการทำให้ Data Model ของเราสมบูรณ์ยิ่งขึ้น นั่นก็คือการสร้าง Date Table นั่นเอง แม้ว่าในความเป็นจริงแล้วเราสามารถลาก Field วันที่จาก Fact Table ลงไปใน Visual ได้เลย แต่ทว่านั่นเป็นสิ่งที่เหล่าผู้เชี่ยวชาญไม่แนะนำให้ทำ เพราะมันจะสร้างตารางวันที่จำลองที่มองไม่เห็นขึ้นมาเต็มไปหมด วิธีที่ถูกต้องคือสร้าง Dimension Table…
-
แฉ 10 ความลับของ EXCEL ภาค3 : เปิดโลก Excel ใบใหม่ที่หลายคนไม่รู้จัก
บทความนี้เป็นภาคต่อจากบทความที่ผมเคย post ในปี 2014 (เกือบ 6 ปีมาแล้วเหรอเนี่ย!! ) ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องลับที่หลายคนไม่รู้ใน Excel ซึ่งได้รับความสนใจอย่างสุดๆ (ใครยังไม่เคยอ่านก็ลองเข้าไปดูนะ) แฉ 10 ความลับของ EXCEL ที่คุณอาจยังไม่เคยรู้มาก่อน! แฉ 10 ความลับของ EXCEL ภาค 2 : เรื่องง่ายๆ ที่หลายคนไม่รู้ ตอนนี้ก็ขึ้นปี 2020…
-
วิธีนับข้อมูลใน Pivot แบบนับไม่ซ้ำกัน (Distinct Count)
เวลาที่ใช้ PivotTable เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล หลายๆ คนน่าจะมี Moment ที่อยากสรุปข้อมูลโดยนับจำนวนสิ่งที่สนใจแบบไม่ซ้ำ หรือ Distinct Count กันบ้างแหละ… เช่น ในแต่ละเดือนมีลูกค้ามาซื้อของกี่คน อยากจะนับแบบไม่ซ้ำกันด้วย เพื่อที่จะดูว่ายอดขายมันเกิดจากลูกค้าจำนวนมากน้อยแค่ไหนด้วย เพราะบางทีการที่ยอดขายเยอะอาจเกิดจากลูกค้ากลุ่มเดิมๆ คนเดิมๆ ตลอดก็ได้ “แต่การนับแบบนี้มันเป็นเรื่องยากมากเลยนะ จะให้นับยังไงล่ะ ก็ใน Pivot มันมีแต่ Count กับ Count Number นี่นา?”…